- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์

สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 13-19 มกราคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมกราคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.417 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 1.54 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มกราคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.746 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.04 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.261 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.96 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิต
ข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 14,999 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 14,778 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.50
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 9,245 บาท ราคาลดลงจากตันละ 9,350 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,130 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,430 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.94
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 944 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,480 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 918 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,530 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.83 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 950 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 472 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,240 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 494 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,967 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 727 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,031 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 497 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,070 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) กัมพูชา
สหพันธ์ข้าวแห่งกัมพูชา รายงานผลการส่งออกข้าวขัดสีของกัมพูชาในปี 2567 โดยมีปริมาณการส่งออกทั้งสิ้น 651,522 ตัน มูลค่ารวม 491 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 16,894 ล้านบาท) แบ่งเป็นข้าวหอม
ร้อยละ 76.15 ข้าวขาวร้อยละ 18.7 ข้าวนึ่งร้อยละ 3.1 ข้าวอินทรีย์ร้อยละ 1.78 และข้าวประเภทอื่นๆ ร้อยละ 0.27 ทั้งนี้ กัมพูชามีบริษัทผู้ส่งออกข้าวขัดสี จำนวน 57 แห่ง ซึ่งดำเนินการส่งออกไปยัง 68 ประเทศและภูมิภาค โดยจีนถือเป็นหนึ่งในตลาดที่สำคัญของกัมพูชา มีปริมาณการส่งออก 117,925 ตัน มูลค่ารวม 75.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 2,601 ล้านบาท)
ที่มา สำนักข่าวซินหัว
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 34.4065 บาท
2) ฟิลิปปินส์ - ปากีสถาน
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2567 นาย Francisco P. Tiu Laurel, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์เข้าพบ Dr. Imtiaz Kazi เอกอัครราชทูตปากีสถานประจำกรุงมะนิลา เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านการเกษตรระหว่างฟิลิปปินส์และปากีสถาน ในการนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานได้
เน้นย้ำถึงบทบาทที่สำคัญของปากีสถานในฐานะผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่เป็นอันดับ 3 ของฟิลิปปินส์ รองจากเวียดนามและไทย โดยได้เสนอการจัดหาข้าวปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี ให้แก่ฟิลิปปินส์ในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่ง
เป็นข้อเสนอที่สะท้อนถึงการเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มการนำเข้าข้าว
ของฟิลิปปินส์ ทั้งนี้ เอกอัครราชทูตปากีสถานยังได้เสนอให้มีการจัดทำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) อย่างเป็นทางการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางการค้าด้านการเกษตรระหว่าง
สองประเทศ ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรฟิลิปปินส์ได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าว และจะสรุปข้อตกลง
ภายในเดือนมิถุนายน 2568 นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายยังหารือถึงการขยายการส่งออกผลไม้สด เช่น มะม่วง กล้วย และทุเรียน ไปยังตลาดปากีสถาน รวมถึงความร่วมมือด้านเทคโนโลยีเกษตร เช่น ระบบชลประทาน เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และการรับรองฮาลาล โดยการเจรจาครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นร่วมกันของทั้งสองประเทศ
ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าด้านเกษตร
ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.55 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.76
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.74 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.01
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 478.00 เซนต์ (6,545.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 459.00 เซนต์ (6,284.00 บาท/ตัน)
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.14 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 261.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมกราคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 4.69 ล้านตัน (ร้อยละ 17.24 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.81 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.83 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.09
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.69 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.23
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.67 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.61
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.90 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.02 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.86
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,420 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,400 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 410.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,220 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 418.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,450 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.91
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมกราคมจะมีประมาณ 1.235 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.007 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.181 ล้านตันของเดือนธันวาคม 2567 คิดเป็นร้อยละ 22.64 และร้อยละ 22.65 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 8.05 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.70 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 4.55
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 45.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.12
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียและสหภาพยุโรปได้กลับมาเจรจาข้อตกลงการค้าเสรีอีกครั้งหลังจากหยุดชะงักไปกว่า 12 ปี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังตลาดยุโรป รวมถึงดึงดูดการลงทุนในด้านพลังงาน
สีเขียวและอุตสาหกรรมการผลิต ในขณะที่อินเดียคาดว่าในเดือนมกราคม 2568 จะมีการนำเข้าลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากกำไรจากการกลั่นน้ำมันปาล์มที่ลดลงและราคาน้ำมันปาล์มที่อยู่ในระดับสูง ทำให้ผู้ประกอบการหันไปใช้น้ำมันชนิดอื่นแทน
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,503.30 ริงกิตมาเลเซีย (35.17 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,688.07 ริงกิตมาเลเซีย (36.57 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.94
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,211.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.16 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.22
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด เทียบเท่าการเผาป่ากว่า 41,000 ไร่ อีกทั้งยังพบว่า บริษัท ไทยอุดรธานี เพาเวอร์ จำกัด ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำส่งให้กับโรงงานน้ำตาลไทยอุดรธานี ได้ฝ่าฝืนกฎหมายความปลอดภัย
มีการประกอบกิจการในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถึงชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน
และประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียงกับโรงงาน จึงมีคำสั่งด่วนที่สุดให้บริษัทฯ ระงับการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายทั้งหมด จนกว่าจะปรับปรุงแก้ไขโรงงานให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างเข้มงวด (ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ)
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- วันที่ 16 มกราคม 2567 นาย Aden Duale เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาการเกษตรและปศุสัตว์ของเคนยา ได้มีการออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เรื่อง การจัดเก็บภาษีน้ำตาล จากทั้งน้ำตาลทรายภายในประเทศและการนำเข้าน้ำตาลทราย ในอัตราร้อยละ 4 โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งจะช่วยให้ราคาน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น หลังจากที่ต้องเผชิญกับการลดลงของราคาน้ำตาลทรายภายในประเทศอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา การจัดเก็บภาษีดังกล่าวเป็นดำเนินการตามมาตรา 40 (1) ของพระราชบัญญัติน้ำตาลทรายของเคนยา ปี 2567 ซึ่งได้มีการประกาศเมื่อ 3 เดือนก่อน สาระสำคัญ คือ โรงงานน้ำตาลทรายในพื้นที่ต้องส่งเงินจากการจัดเก็บภาษีดังกล่าวเข้าคณะกรรมการน้ำตาลทรายเคนยา (Kenya Sugar Board: KSB) และ KSB จะดำเนินการจัดเก็บภาษีนำเข้าน้ำตาลทรายโดยตรงจากผู้ประกอบการนำเข้าน้ำตาลทราย ทั้งนี้ รายได้ซึ่งมาจากการเก็บภาษีน้ำตาลทรายนี้ กองทุนน้ำตาลทรายของเคนยาจะนำมาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในอุตสาหกรรมและการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำตาลทราย เช่น การพัฒนาการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 40) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับพื้นที่ที่มีการผลิตอ้อยโรงงาน (ร้อยละ 15) การบริหารจัดการของ KSB (ร้อยละ 10) การบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรชาวไร่อ้อย (ร้อยละ 5) รวมถึงการวิจัยและพัฒนา (ร้อยละ 15) ของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของเคนยา (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,036 เซนต์ (13.25 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 995.52 เซนต์ (12.71 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.07
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 298.44 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.39 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 293.78 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.21 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.59
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.64 เซนต์ (35.02 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.78 เซนต์ (32.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 9.24
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ และถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ1021.20 ดอลลาร์สหรัฐ (35.07 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 843.20 ดอลลาร์สหรัฐ (29.01 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 845.00 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,487.40 ดอลลาร์สหรัฐ (51.18 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,490.60 ดอลลาร์สหรัฐ (51.19 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.21 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 960.40 ดอลลาร์สหรัฐ (33.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 962.60 ดอลลาร์สหรัฐ (33.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1013.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.85 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1015.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.87 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.87 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.99 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.22
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,071 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,226 บาท คิดเป็นร้อยละ 6.96 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,481 บาท ลดลงสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,647 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.08 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 973 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นค่อนข้างทรงตัว เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.38 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 71.37 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.14 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 74.37 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.87 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.76 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.93 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.68 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 17.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 41.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 59.00 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 358 บาท บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 359 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 354 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 364 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 392 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 416 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 439 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 422 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 389 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 455 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 480 บาท บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.66 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.45 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 58.94 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.41 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.31 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 13 – 19 มกราคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.30 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 65.67 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.37 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.04 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 80.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.28 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 154.73 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 151.72 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 3.01 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 164.17 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 9.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.62 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.07 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.45 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา