- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์
- รายละเอียดสถานการณ์ผลิดและการตลาด
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 พฤษภาคม 2562
ข้าว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562 เห็นชอบแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63 ดังนี้
ช่วงที่ 1 การกำหนดอุปสงค์ อุปทานข้าว ได้กำหนดอุปสงค์ 32.48 ล้านตันข้าวเปลือก อุปทาน 34.16 ล้านตันข้าวเปลือก
ช่วงที่ 2 ช่วงการผลิตข้าว ได้แก่
1) การกำหนดพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าว เป้าหมาย รอบที่ 1 จำนวน 58.99 ล้านไร่ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าวแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และ รอบที่ 2 จำนวน 13.81 ล้านไร่
2) การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป้าหมาย รอบที่ 1 จำนวน 4.00 ล้านครัวเรือน และ รอบที่ 2 จำนวน 0.30 ล้านครัวเรือน
3) การจัดการปัจจัยการผลิต ได้แก่ โครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี และควบคุมค่าเช่าที่นา
4) การปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การจัดรูปที่ดินและปรับระดับพื้นที่นา
5) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ได้แก่
1.1 แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63
มติที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562 เห็นชอบแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปีการผลิต 2562/63 ดังนี้
ช่วงที่ 1 การกำหนดอุปสงค์ อุปทานข้าว ได้กำหนดอุปสงค์ 32.48 ล้านตันข้าวเปลือก อุปทาน 34.16 ล้านตันข้าวเปลือก
ช่วงที่ 2 ช่วงการผลิตข้าว ได้แก่
1) การกำหนดพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าว เป้าหมาย รอบที่ 1 จำนวน 58.99 ล้านไร่ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าวแล้ว เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และ รอบที่ 2 จำนวน 13.81 ล้านไร่
2) การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป้าหมาย รอบที่ 1 จำนวน 4.00 ล้านครัวเรือน และ รอบที่ 2 จำนวน 0.30 ล้านครัวเรือน
3) การจัดการปัจจัยการผลิต ได้แก่ โครงการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี และควบคุมค่าเช่าที่นา
4) การปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ การจัดรูปที่ดินและปรับระดับพื้นที่นา
5) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ได้แก่
(1) โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่(นาแปลงใหญ่)
(2) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข43
(3) โครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแม่นยำสูง
(4) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ
(5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
(6) โครงการรักษาระดับปริมาณการผลิตและคุณภาพข้าวหอมมะลิ
(7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
(8) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวไปเป็นพืชอื่น (Zoning by Agri-Map)
(9) โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย
(10) โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด
(11) โครงการประกันภัยพืชผล
(2) โครงการส่งเสริมการผลิตและการตลาดข้าวพันธุ์ กข43
(3) โครงการส่งเสริมระบบเกษตรแบบแม่นยำสูง
(4) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ
(5) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์
(6) โครงการรักษาระดับปริมาณการผลิตและคุณภาพข้าวหอมมะลิ
(7) โครงการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ 13 ทุ่ง
(8) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวไปเป็นพืชอื่น (Zoning by Agri-Map)
(9) โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลาย
(10) โครงการปลูกพืชปุ๋ยสด
(11) โครงการประกันภัยพืชผล
ช่วงที่ 3 ช่วงการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว ได้แก่
(1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการรถเกี่ยวนวดข้าว
(2) โครงการยกระดับมาตรฐานโรงสี กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงตลาดข้าวนาแปลงใหญ่
(2) โครงการยกระดับมาตรฐานโรงสี กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงตลาดข้าวนาแปลงใหญ่
ช่วงที่ 4 ช่วงการตลาดในประเทศ ได้แก่
(1) โครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์และข้าว GAP ครบวงจร
(2) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวของไทยทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศ พ.ศ. 2563-2565
(3) โครงการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมและสร้างการรับรู้ถึงคุณประโยชน์ของการบริโภคผลผลิตภัณฑ์น้ำนมข้าว
(4) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวสาร Q และข้าวพันธุ์ กข43 ปีการผลิต 2561/62
(5) โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
(6) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร
(7) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการในการเก็บสต็อก
(8) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือก
(2) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวของไทยทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศ พ.ศ. 2563-2565
(3) โครงการประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมและสร้างการรับรู้ถึงคุณประโยชน์ของการบริโภคผลผลิตภัณฑ์น้ำนมข้าว
(4) โครงการรณรงค์บริโภคข้าวสาร Q และข้าวพันธุ์ กข43 ปีการผลิต 2561/62
(5) โครงการช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าว
(6) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร
(7) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการในการเก็บสต็อก
(8) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือก
ช่วงที่ 5 ช่วงการตลาดต่างประเทศ ได้แก่
(1) การจัดหาและเชื่อมโยงตลาดต่างประเทศ
(2) การส่งเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ข้าว ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมข้าว
(3) การส่งเสริมพัฒนาการค้าสินค้ามาตรฐานและปกป้องคุ้มครองเครื่องหมายการค้า/ เครื่องหมายรับรองข้าวหอมมะลิไทย
(4) การประชาสัมพันธ์การบริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ของไทยทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ
(2) การส่งเสริมภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์ข้าว ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมข้าว
(3) การส่งเสริมพัฒนาการค้าสินค้ามาตรฐานและปกป้องคุ้มครองเครื่องหมายการค้า/ เครื่องหมายรับรองข้าวหอมมะลิไทย
(4) การประชาสัมพันธ์การบริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ของไทยทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,720 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,688 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,853 บาท ราคาลดลงจากตันละ 7,892 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.50
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,650 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,131 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,755 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 1,148 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,316 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.48 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 561 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 407 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,867 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 413 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,065 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 198 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,614 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 405 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,812 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.48 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 198 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 410 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,962 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 416 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,160 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.44 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 198 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.6136
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
ไทย
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศโชว์เอฟทีเอช่วยดันส่งออกข้าวไทยไปประเทศคู่เจรจาพุ่ง หลังปรับลดภาษีนำเข้า เล็งลุยถกจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย เปิดตลาดสินค้าข้าวเพิ่ม หลังยังมีโควตาและเก็บภาษีสูงอยู่ เพื่อสร้างแต้มต่อให้กับข้าวไทย
นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เปิดเผยว่า กรมฯ ได้ติดตามสถานการณ์
การส่งออกข้าวไทยไปยังประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอของไทย 18 ประเทศ ได้แก่ อาเซียน 9 ประเทศ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เปรู ชิลี และฮ่องกง ล่าสุดที่จะมีผลใช้บังคับในเดือนมิถุนายน 2562 โดยที่ผ่านมา พบว่านับตั้งแต่ความตกลงเอฟทีเอมีผลบังคับใช้ การส่งออกข้าวไทยไปประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอขยายตัวเพิ่มขึ้นเกือบทุกตลาด เช่น อาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 144 ออสเตรเลียเพิ่มขึ้นร้อยละ 155 นิวซีแลนด์เพิ่มขึ้นร้อยละ 135 เปรูเพิ่มขึ้นร้อยละ 464 และชิลีเพิ่มขึ้นร้อยละ 200 เนื่องจากประเทศเหล่านี้ยกเลิกและทยอยลดการเก็บภาษีศุลกากรนำเข้าข้าวจากไทยแล้ว
อย่างไรก็ตาม มีบางประเทศที่เพิ่งเริ่มลดภาษี และบางประเทศยังคงกำหนดโควตาและเก็บภาษีสูง เช่น จีนเพิ่งเริ่มลดภาษีสินค้าข้าวบางรายการให้ไทยเมื่อปี 2561 และในรายการสำคัญ เช่น ข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขัดสี รวมถึงข้าวหอมมะลิ จีนยังคงอัตราภาษีที่ร้อยละ 50 ขณะที่ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย จัดให้ข้าวเป็นสินค้าอ่อนไหวและยังคงเก็บภาษีนำเข้าข้าวในอัตราที่สูง โดยเกาหลีใต้เก็บภาษีนำเข้าข้าวร้อยละ 513 อินเดียเก็บภาษีนำเข้าข้าวร้อยละ 70-80 และญี่ปุ่นยังใช้ระบบโควตาภาษี โดยการนำเข้าข้าวภายใต้โควตา 682,000 ตันต่อปี จะไม่เสียภาษี แต่การนำเข้าข้าว
นอกโควตา ต้องเสียภาษีในอัตรา 341 เยนต่อกิโลกรัม
อธิบดีกล่าวว่า “กรมฯ จะเดินหน้าผลักดันให้ประเทศคู่ค้าเปิดตลาดเพิ่มเติมให้ไทยภายใต้การเจรจาเอฟทีเอกรอบต่างๆ ทั้งการทบทวนความตกลงเอฟทีเอที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน เช่น เอฟทีเอที่ไทยทำกับอาเซียน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย จีน และความตกลงเอฟทีเอที่อยู่ระหว่างการเจรจา เช่น การเจรจาจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (อาร์เซป) และการเจรจาจัดทำเอฟทีเอกับตุรกี ปากีสถาน และศรีลังกา เป็นต้น เพื่อช่วยสร้างแต้มต่อให้กับข้าวไทยในตลาดโลก”
ทั้งนี้ สถิติปี 2561 ไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับ 2 ของโลก รองจากอินเดีย โดยไทยส่งออกข้าวสู่ตลาดโลกปริมาณ 11.089 ล้านตัน มูลค่า 5,619.1 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.34 และร้อยละ 2.02 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับปี 2560 โดยสัดส่วนการส่งออกไปยังตลาดหลัก เช่น อาเซียน ร้อยละ 20.12 เบนิน ร้อยละ 11.19 และจีน ร้อยละ 9.81 เป็นต้น สำหรับมูลค่าการส่งออกข้าวของไทยไปประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอ 17 ประเทศ รวม 1,870.4 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 33.29 ของการส่งออกข้าวของไทย
ที่มา : www.ryt9.com
จีน
สำนักงานศุลกากร (General Administration of Customs of the People's Republic of China; GACC) รายงานว่า การส่งออกข้าวในเดือนเมษายน 2562 (ข้อมูลเบื้องต้น) ประมาณ 351,000 ตัน มูลค่า 126.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.70 และร้อยละ 45.07 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับการส่งออกในเดือนมีนาคม 2562 ที่มีการส่งออกข้าวจำนวน 190,000 ตัน มูลค่า 87.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และเมื่อเทียบกับการส่งออกในเดือนเมษายน 2561 (มีการส่งออกข้าวจำนวน 165,000 ตัน มูลค่า 72.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 112.73 และร้อยละ 74.96 ตามลำดับ โดยในช่วง 4 เดือนแรกของปีนี้ (มกราคม-เมษายน) จีนส่งออกข้าวแล้วประมาณ 830,000 ตัน มูลค่า 316.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 65.4 และร้อยละ 24.2 เมื่อเทียบกับจำนวน 502,000 ตัน มูลค่า 254.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปี 2561
ทั้งนี้ ในปี 2561 ประเทศจีนส่งออกข้าวประมาณ 2.089 ล้านตัน มูลค่า 887.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
โดยปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 74.7 และร้อยละ 48.9 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 1.196 ล้านตัน มูลค่า 596.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2560 โดยในปี 2561 จีนส่งออกข้าวไปยังประเทศไอวอรี่โคสต์จำนวน 450,380 ตัน กินี 183,929 ตัน เกาหลีใต้ 173,426 ตัน อียิปต์169,968 ตัน ตุรกี 167,775 ตัน ฟิลิปปินส์ 81,803 ตัน เบนิน 79,700 ตัน ญี่ปุ่น 73,240 ตัน เซียร์ร่าลีโอน 69,251 ตัน สหรัฐอเมริกา 65,350 ตัน เซเนกัล 64,000 ตัน และเกาหลีเหนือ 43,532 ตัน
ส่วนการนำเข้าข้าวนั้น ในเดือนมีนาคม 2562 (ข้อมูลเบื้องต้น) จีนมีการนำเข้าข้าวประมาณ 170,000 ตัน มูลค่า 86.424 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 39.28 และร้อยละ 43.16 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 280,000 ตัน มูลค่า 152.056 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปี 2561 โดยในช่วง 3 เดือนแรกของปีนี้(มกราคม-มีนาคม 2562) จีนนำเข้าข้าวประมาณ 590,000 ตัน มูลค่า 327.762 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 24.35 และร้อยละ 23.14 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 780,000 ตัน มูลค่า 426.483 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปี 2561
ทั้งนี้ ในปี 2561 ประเทศจีนนำเข้าข้าวจำนวน 3.03 ล้านตัน มูลค่า 1,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 23.9 และร้อยละ 12.5 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 3.99 ล้านตัน มูลค่า 1,828 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี2560 โดยในปี 2561 จีนนำเข้าข้าวจากเวียดนามจำนวน 1,449,602 ตัน ไทย 899,237 ตัน ปากีสถาน 342,346 ตัน กัมพูชา 162,815 ตัน และลาว 73,670 ตัน
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 15,720 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,688 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 7,853 บาท ราคาลดลงจากตันละ 7,892 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.50
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 34,050 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 11,650 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 1,131 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35,755 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 1,148 ดอลลาร์สหรัฐฯ (36,316 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.48 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 561 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 407 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,867 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 413 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,065 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.45 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 198 บาท
ข้าวขาว 25% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,614 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 405 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,812 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.48 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 198 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้ เฉลี่ยตันละ 410 ดอลลาร์สหรัฐฯ (12,962 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 416 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,160 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.44 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 198 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 31.6136
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
ไทย
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศโชว์เอฟทีเอช่วยดันส่งออกข้าวไทยไปประเทศคู่เจรจาพุ่ง หลังปรับลดภาษีนำเข้า เล็งลุยถกจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย เปิดตลาดสินค้าข้าวเพิ่ม หลังยังมีโควตาและเก็บภาษีสูงอยู่ เพื่อสร้างแต้มต่อให้กับข้าวไทย
นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เปิดเผยว่า กรมฯ ได้ติดตามสถานการณ์
การส่งออกข้าวไทยไปยังประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอของไทย 18 ประเทศ ได้แก่ อาเซียน 9 ประเทศ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เปรู ชิลี และฮ่องกง ล่าสุดที่จะมีผลใช้บังคับในเดือนมิถุนายน 2562 โดยที่ผ่านมา พบว่านับตั้งแต่ความตกลงเอฟทีเอมีผลบังคับใช้ การส่งออกข้าวไทยไปประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอขยายตัวเพิ่มขึ้นเกือบทุกตลาด เช่น อาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 144 ออสเตรเลียเพิ่มขึ้นร้อยละ 155 นิวซีแลนด์เพิ่มขึ้นร้อยละ 135 เปรูเพิ่มขึ้นร้อยละ 464 และชิลีเพิ่มขึ้นร้อยละ 200 เนื่องจากประเทศเหล่านี้ยกเลิกและทยอยลดการเก็บภาษีศุลกากรนำเข้าข้าวจากไทยแล้ว
อย่างไรก็ตาม มีบางประเทศที่เพิ่งเริ่มลดภาษี และบางประเทศยังคงกำหนดโควตาและเก็บภาษีสูง เช่น จีนเพิ่งเริ่มลดภาษีสินค้าข้าวบางรายการให้ไทยเมื่อปี 2561 และในรายการสำคัญ เช่น ข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขัดสี รวมถึงข้าวหอมมะลิ จีนยังคงอัตราภาษีที่ร้อยละ 50 ขณะที่ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย จัดให้ข้าวเป็นสินค้าอ่อนไหวและยังคงเก็บภาษีนำเข้าข้าวในอัตราที่สูง โดยเกาหลีใต้เก็บภาษีนำเข้าข้าวร้อยละ 513 อินเดียเก็บภาษีนำเข้าข้าวร้อยละ 70-80 และญี่ปุ่นยังใช้ระบบโควตาภาษี โดยการนำเข้าข้าวภายใต้โควตา 682,000 ตันต่อปี จะไม่เสียภาษี แต่การนำเข้าข้าว
นอกโควตา ต้องเสียภาษีในอัตรา 341 เยนต่อกิโลกรัม
อธิบดีกล่าวว่า “กรมฯ จะเดินหน้าผลักดันให้ประเทศคู่ค้าเปิดตลาดเพิ่มเติมให้ไทยภายใต้การเจรจาเอฟทีเอกรอบต่างๆ ทั้งการทบทวนความตกลงเอฟทีเอที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน เช่น เอฟทีเอที่ไทยทำกับอาเซียน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย จีน และความตกลงเอฟทีเอที่อยู่ระหว่างการเจรจา เช่น การเจรจาจัดทำความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (อาร์เซป) และการเจรจาจัดทำเอฟทีเอกับตุรกี ปากีสถาน และศรีลังกา เป็นต้น เพื่อช่วยสร้างแต้มต่อให้กับข้าวไทยในตลาดโลก”
ทั้งนี้ สถิติปี 2561 ไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับ 2 ของโลก รองจากอินเดีย โดยไทยส่งออกข้าวสู่ตลาดโลกปริมาณ 11.089 ล้านตัน มูลค่า 5,619.1 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.34 และร้อยละ 2.02 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับปี 2560 โดยสัดส่วนการส่งออกไปยังตลาดหลัก เช่น อาเซียน ร้อยละ 20.12 เบนิน ร้อยละ 11.19 และจีน ร้อยละ 9.81 เป็นต้น สำหรับมูลค่าการส่งออกข้าวของไทยไปประเทศคู่เจรจาเอฟทีเอ 17 ประเทศ รวม 1,870.4 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 33.29 ของการส่งออกข้าวของไทย
ที่มา : www.ryt9.com
จีน
สำนักงานศุลกากร (General Administration of Customs of the People's Republic of China; GACC) รายงานว่า การส่งออกข้าวในเดือนเมษายน 2562 (ข้อมูลเบื้องต้น) ประมาณ 351,000 ตัน มูลค่า 126.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.70 และร้อยละ 45.07 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับการส่งออกในเดือนมีนาคม 2562 ที่มีการส่งออกข้าวจำนวน 190,000 ตัน มูลค่า 87.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และเมื่อเทียบกับการส่งออกในเดือนเมษายน 2561 (มีการส่งออกข้าวจำนวน 165,000 ตัน มูลค่า 72.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 112.73 และร้อยละ 74.96 ตามลำดับ โดยในช่วง 4 เดือนแรกของปีนี้ (มกราคม-เมษายน) จีนส่งออกข้าวแล้วประมาณ 830,000 ตัน มูลค่า 316.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 65.4 และร้อยละ 24.2 เมื่อเทียบกับจำนวน 502,000 ตัน มูลค่า 254.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปี 2561
ทั้งนี้ ในปี 2561 ประเทศจีนส่งออกข้าวประมาณ 2.089 ล้านตัน มูลค่า 887.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
โดยปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 74.7 และร้อยละ 48.9 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 1.196 ล้านตัน มูลค่า 596.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2560 โดยในปี 2561 จีนส่งออกข้าวไปยังประเทศไอวอรี่โคสต์จำนวน 450,380 ตัน กินี 183,929 ตัน เกาหลีใต้ 173,426 ตัน อียิปต์169,968 ตัน ตุรกี 167,775 ตัน ฟิลิปปินส์ 81,803 ตัน เบนิน 79,700 ตัน ญี่ปุ่น 73,240 ตัน เซียร์ร่าลีโอน 69,251 ตัน สหรัฐอเมริกา 65,350 ตัน เซเนกัล 64,000 ตัน และเกาหลีเหนือ 43,532 ตัน
ส่วนการนำเข้าข้าวนั้น ในเดือนมีนาคม 2562 (ข้อมูลเบื้องต้น) จีนมีการนำเข้าข้าวประมาณ 170,000 ตัน มูลค่า 86.424 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 39.28 และร้อยละ 43.16 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 280,000 ตัน มูลค่า 152.056 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปี 2561 โดยในช่วง 3 เดือนแรกของปีนี้(มกราคม-มีนาคม 2562) จีนนำเข้าข้าวประมาณ 590,000 ตัน มูลค่า 327.762 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 24.35 และร้อยละ 23.14 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 780,000 ตัน มูลค่า 426.483 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปี 2561
ทั้งนี้ ในปี 2561 ประเทศจีนนำเข้าข้าวจำนวน 3.03 ล้านตัน มูลค่า 1,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 23.9 และร้อยละ 12.5 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับจำนวน 3.99 ล้านตัน มูลค่า 1,828 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี2560 โดยในปี 2561 จีนนำเข้าข้าวจากเวียดนามจำนวน 1,449,602 ตัน ไทย 899,237 ตัน ปากีสถาน 342,346 ตัน กัมพูชา 162,815 ตัน และลาว 73,670 ตัน
ที่มา : สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
กราฟราคาที่เกษตรกรขายได้ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% และราคาขายส่งตลาด กทม. ข้าวสารเจ้า 5%
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดภายในประเทศในช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.29 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 7.33 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.55 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5 % สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.70 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 5.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.93 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.36 และราคาขายส่งไซโลรับซื้อสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.26 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.95 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 293.75 ดอลลาร์สหรัฐ (9,287 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากตันละ 286.20 ดอลลาร์สหรัฐ (8,968 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.64 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 319 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2562/63 ว่ามี 1,145.01 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,132.33 ล้านตัน ในปี 2561/62 ร้อยละ 1.12 โดยสหรัฐอเมริกา จีน บราซิล เม็กซิโก อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา แคนนาดา เวียดนาม อินโดนีเซีย อิหร่าน และไนจีเรีย มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 171.33 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 168.00 ล้านตัน ในปี 2561/62 ร้อยละ 1.98 โดยบราซิล อาร์เจนตินา รัสเซีย และเม็กซิโก ส่งออกเพิ่มขึ้น ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น เม็กซิโก ญี่ปุ่น สาธารณรัฐโดมินิกัน อิหร่าน เกาหลีใต้ อียิปต์ จีน โคลัมเบีย ซาอุดิอาระเบีย แอลจีเรีย มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี ชิลี อิสราเอล บังกลาเทศ กัวเตมาลา และเคนยา มีการนำเข้าเพิ่มขึ้น (ตารางแนบท้าย)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนกรกฎาคม 2562 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2
สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 390.08 เซนต์ (4,921 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากบุชเชลละ 365.00 เซนต์ (4,563 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 6.87 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 358 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.72 ล้านไร่ ผลผลิต 31.55 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.62 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.33 ล้านไร่ ผลผลิต 29.37 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.53 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.68 ร้อยละ 7.42 และร้อยละ 2.55 ตามลำดับ โดยเดือนพฤษภาคม 2562 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 0.94 ล้านตัน (ร้อยละ 2.97 ของผลผลิตทั้งหมด) ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 21.14 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย เนื่องจากเป็นช่วงปลายฤดูการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้ฝนตกอย่างต่อเนื่อง ทำให้เชื้อแป้งในหัวมันสำปะหลังค่อนข้างต่ำ ประกอบกับราคาส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง(มันเส้น และแป้งมันสำปะหลัง) ปรับตัวลดลง ส่งผลให้ราคามันสำปะหลังสดที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงเช่นกัน
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.83 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.88 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.66
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 4.98 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 4.85 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.68
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.22 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.21 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.16
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.35 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.51 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.18
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 218 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,892 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (6,831 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,321 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (14,195 บาทต่อตัน)
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลัง ปี 2562 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.72 ล้านไร่ ผลผลิต 31.55 ล้านตัน ผลผลลิตต่อไร่ 3.62 ตัน เมื่อเทียบกับปี 2561 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.33 ล้านไร่ ผลผลิต 29.37 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.53 ตัน พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ สูงขึ้นร้อยละ 4.68 ร้อยละ 7.42 และร้อยละ 2.55 ตามลำดับ โดยเดือนพฤษภาคม 2562 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 0.94 ล้านตัน (ร้อยละ 2.97 ของผลผลิตทั้งหมด) ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2562 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562 ปริมาณ 21.14 ล้านตัน (ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด)
การตลาด
ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย เนื่องจากเป็นช่วงปลายฤดูการเก็บเกี่ยว ทั้งนี้ฝนตกอย่างต่อเนื่อง ทำให้เชื้อแป้งในหัวมันสำปะหลังค่อนข้างต่ำ ประกอบกับราคาส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง(มันเส้น และแป้งมันสำปะหลัง) ปรับตัวลดลง ส่งผลให้ราคามันสำปะหลังสดที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลงเช่นกัน
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.83 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.88 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.66
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 4.98 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 4.85 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.68
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.22 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.21 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 0.16
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต กรุงเทพและปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.35 ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.51 บาท ในสัปดาห์ก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.18
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 218 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,892 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (6,831 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,321 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน (14,195 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
อ้อยและน้ำตาล
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ
ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ได้รายงานการเก็บเกี่ยวอ้อยและการผลิต น้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 จนถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2562 ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน 130,970,004 ตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 14,572,399 ตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 11,327,123 ตัน และน้ำตาลทรายขาว 3,245,276 ตัน ค่าความหวานของอ้อยเฉลี่ย 12.64 ซี.ซี.เอส. ผลผลิตน้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 111.27 กก.ต่อตันอ้อย
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ
รายงานการส่งออกน้ำตาลของอินเดีย
ประธานสมาคมการค้าน้ำตาลของอินเดีย รายงานว่า โรงงานน้ำตาลของอินเดียได้ทำสัญญาส่งออกน้ำตาลจำนวน 3.00 ล้านตัน นับตั้งแต่เริ่มฤดูการผลิต 1 ตุลาคม โดยน้ำตาลจำนวน 2.85 ล้านตัน ได้มีการเตรียมการเพื่อส่งออก และน้ำตาลจำนวน 2.13 ล้านตัน ได้ส่งออกไปแล้วภายในวันที่ 6 เมษายน 2562 โดยเป็นน้ำตาลทรายดิบจำนวน 976,000 ตัน ส่วนที่เหลือเป็นน้ำตาลทรายขาว ส่งออกไปยังประเทศ บังคลาเทศ อิหร่าน ศรีลังกา และโซมาเลีย
รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ
ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ได้รายงานการเก็บเกี่ยวอ้อยและการผลิต น้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 จนถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2562 ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน 130,970,004 ตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 14,572,399 ตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 11,327,123 ตัน และน้ำตาลทรายขาว 3,245,276 ตัน ค่าความหวานของอ้อยเฉลี่ย 12.64 ซี.ซี.เอส. ผลผลิตน้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 111.27 กก.ต่อตันอ้อย
2. สรุปภาวการณ์ผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ
รายงานการส่งออกน้ำตาลของอินเดีย
ประธานสมาคมการค้าน้ำตาลของอินเดีย รายงานว่า โรงงานน้ำตาลของอินเดียได้ทำสัญญาส่งออกน้ำตาลจำนวน 3.00 ล้านตัน นับตั้งแต่เริ่มฤดูการผลิต 1 ตุลาคม โดยน้ำตาลจำนวน 2.85 ล้านตัน ได้มีการเตรียมการเพื่อส่งออก และน้ำตาลจำนวน 2.13 ล้านตัน ได้ส่งออกไปแล้วภายในวันที่ 6 เมษายน 2562 โดยเป็นน้ำตาลทรายดิบจำนวน 976,000 ตัน ส่วนที่เหลือเป็นน้ำตาลทรายขาว ส่งออกไปยังประเทศ บังคลาเทศ อิหร่าน ศรีลังกา และโซมาเลีย
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ(ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 825.00 เซนต์ (9.71 บาท/กก.)สูงขึ้นจากบุชเชลละ 816.12 เซนต์ (9.52 บาท/กก.)ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.09
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.48 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.50บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.30 บาท/กก.)ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 27.19 เซนต์(19.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 26.91 เซนต์ (18.84 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.04
ยางพารา
สับปะรด
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.27 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 18.62 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.88
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 916.50 ดอลลาร์สหรัฐ (28.97 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 924.40 ดอลลาร์สหรัฐ (28.97 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.85 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 853.00 ดอลลาร์สหรัฐ (26.97 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 860.20 ดอลลาร์สหรัฐ (26.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 885.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.98 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 892.40 ดอลลาร์สหรัฐ (27.96 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.83 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 566.75 ดอลลาร์สหรัฐ (17.92 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 571.20 ดอลลาร์สหรัฐ (17.90 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 910.25 ดอลลาร์สหรัฐ (28.78 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 917.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละสัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.27 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 18.62 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.88
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ และถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 916.50 ดอลลาร์สหรัฐ (28.97 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 924.40 ดอลลาร์สหรัฐ (28.97 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.85 แต่ในรูปเงินบาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 853.00 ดอลลาร์สหรัฐ (26.97 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 860.20 ดอลลาร์สหรัฐ (26.95 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 885.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.98 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 892.40 ดอลลาร์สหรัฐ (27.96 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.83 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 566.75 ดอลลาร์สหรัฐ (17.92 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 571.20 ดอลลาร์สหรัฐ (17.90 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 910.25 ดอลลาร์สหรัฐ (28.78 บาท/กิโลกรัม) ลดลงจากตันละ 917.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.76 บาท/กิโลกรัม) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 แต่สูงขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 53.09 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 12.26
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.16 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 29.20 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 6.99
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 53.09 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 12.26
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.16 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 29.20 บาท
ของสัปดาห์ก่อนร้อย 6.99
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ฝ้าย
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 67.09 (กิโลกรัมละ 47.39 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 66.76 (กิโลกรัมละ 46.74 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 1.39 บาท
ราคาฝ้ายรวมเมล็ดชนิดคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้า เพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2562 สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 67.09 (กิโลกรัมละ 47.39 บาท) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 66.76 (กิโลกรัมละ 46.74 บาท) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.49 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 1.39 บาท
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,655 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,631 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.47
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,303 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 853 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน บางพื้นที่ฝนตก บางพื้นที่ร้อนส่งผลให้สุกรเจริญเติบโตช้า ทำให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.54 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 70.94 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.85 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 71.32 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.40 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 71.93 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.53 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท (บวกลบ 74 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 74.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 75.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.32
สถานการณ์ตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน บางพื้นที่ฝนตก บางพื้นที่ร้อนส่งผลให้สุกรเจริญเติบโตช้า ทำให้ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 71.54 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 70.94 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.85 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 71.32 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.40 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 71.93 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 73.53 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 2,200 บาท (บวกลบ 74 บาท) ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 74.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 75.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.32
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคสอดรับและใกล้เคียงกับผลผลิตไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.64 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.86 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ในสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคสอดรับและใกล้เคียงกับผลผลิตไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 35.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 36.64 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 39.86 บาท และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 11.50 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 47.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่เริ่มมีมากขึ้นเพราะสถานศึกษาเริ่มเปิดภาคเรียน แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 273 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 271 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.74 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 294 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 279 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 265 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 22.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 256บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 304 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 15.79
ภาวะตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดใกล้เคียงกับความต้องการบริโภคที่เริ่มมีมากขึ้นเพราะสถานศึกษาเริ่มเปิดภาคเรียน แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 273 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 271 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.74 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 294 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 279 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 265 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 22.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0-4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 256บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 304 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 15.79
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 324 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 317 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 327 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 333บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 305 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 350 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 324 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 317 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 2.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 327 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 333บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 305 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 350 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 340 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 89.55 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.11 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.65 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.47 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 89.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 89.55 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.11 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.65 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 85.47 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 88.07 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 101.72 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.87 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.75 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.17 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.70 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.87 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.75 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.17 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 89.70 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.05 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ประมง
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 พฤษภาคม 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.14 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.15 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.01 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 142.13 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 136.53 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.60 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 137.50 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 132.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.79 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 85.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 7.82 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 148.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 160.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.52 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.19 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.33 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 17 – 23 พฤษภาคม 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
1. สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
เปลี่ยนถ่ายกระชังลูกใหม่หรือเพิ่มออกซิเจนในน้ำนช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่น้ำตาย โดยเฉพาะในช่วงกลางคืนบวกกับออกซิเจนในน้ำค่อนในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 พฤษภาคม 2562) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3-4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯเฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 72.14 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 73.15 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.01 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 120.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัมเฉลี่ยกิโลกรัมละ 142.13 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 136.53 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.60 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 137.50 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 132.50 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาปลาทูสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.79 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 85.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 7.82 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 148.00 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 160.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 260.00 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.52 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.19 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.33 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวันที่ 17 – 23 พฤษภาคม 2562) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา