- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์

สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2567 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,275 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,196 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.52
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,809 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,822 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,817 บาท ราคาลดลงจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.55
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,117 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.90
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 959 ดอลลาร์สหรัฐฯ (32,124 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.98 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 504 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน 453 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,174 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.08 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 709 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 469 ดอลลาร์สหรัฐฯ (15,710 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.76 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 842 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย
นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การส่งออกข้าวไทยในเดือนกุมภาพันธ์ว่า ตลาดค้าข้าวโลกมีความผันผวนอย่างมาก คำสั่งซื้อใหม่หยุดชะงัก และปริมาณข้าวทั่วโลกยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ราคาข้าวทั่วโลกปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อระบบการค้า โดยประเทศผู้นําเข้าหลายประเทศชะลอการส่งมอบข้าวตามสัญญาที่ทำไว้เดิม และบางบริษัทได้ยกเลิกสัญญาที่ตกลงไว้ตั้งแต่ปลายปี 2567 เนื่องจากราคาข้าวที่ตกลงกันไว้ในช่วงปลายปี 2567 ถึงต้นปี 2568 สูงกว่าราคาข้าวในต้นเดือนกุมภาพันธ์ค่อนข้างมาก รวมทั้งราคาข้าวไทยกลับมาสูงกว่าประเทศคู่แข่งเกือบทุกชนิด โดยราคาส่งออกข้าวไทย
สูงกว่าคู่แข่งประมาณตันละ 50 – 60 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 1,682 – 2,018 บาท) ซึ่งราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยเฉลี่ยอยู่ที่ตันละ 430 – 440 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 14,465 – 14,801 บาท) ขณะที่ข้าวเวียดนาม
ราคาต่ำกว่าข้าวไทยที่ตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 13,119 บาท) และยังต่ำกว่าราคาข้าวของอินเดียอีกด้วย
สาเหตุที่ทำให้ราคาข้าวลดลงอย่างรวดเร็ว เป็นเพราะประเทศผู้นําเข้าอย่างอินโดนีเซียได้หยุดการซื้อข้าวหลังจากราคาข้าวต่ำกว่าที่ตกลงซื้อไว้ประมาณตันละ 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ตันละ 3,364 บาท) อินโดนีเซียจึงได้ปรับเงื่อนไขในสัญญาใหม่ โดยกําหนดให้ผู้ขายต้องส่งมอบข้าวให้แล้วเสร็จภายใน 31 มกราคม 2568 หากไม่สามารถส่งมอบได้ตามกำหนดจะขอยกเลิกสัญญา ซึ่งเป็นการยกเลิกจากเงื่อนไขเดิมที่ให้ชะลอการส่งมอบและเจรจาราคากันใหม่ ทำให้
ผู้ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการถูกยกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นประเทศผู้นําเข้าสำคัญ ได้สั่งชะลอการนำเข้าข้าวก่อน เนื่องจากปริมาณข้าวในสต็อกยังสูงจากการนำเข้าข้าวในปีก่อน และราคาขายในประเทศยังไม่ลดลง จึงต้องหยุดการนําเข้าข้าว โดยส่วนใหญ่ฟิลิปปินส์นําเข้าข้าวจากเวียดนาม เมื่อหยุดการนำเข้าเพิ่ม ส่งผลให้ราคาข้าวเวียดนามลดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีปริมาณสต็อกข้าวเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจทำให้เวียดนามจำเป็นต้องเทขายข้าวก่อนที่ผลผลิตข้าวรอบใหม่จะออกสู่ตลาดในเดือนมีนาคม 2568 และเป็นช่วงเดียวกับที่ผลผลิตข้าวนาปรังรอบแรกของไทยจะออกสู่ตลาดเช่นกัน
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, มติชนออนไลน์
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6385 บาท
2) ญี่ปุ่น
นายทาคุ เอโตะ รัฐมนตรีกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมงของญี่ปุ่น (Ministry of Agriculture, Forestry
and Fisheries; MAFF) เปิดเผยว่า รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนระบายข้าวจากสต็อกจำนวน 210,000 ตัน เพื่อให้การกระจายข้าวในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น และช่วยให้ตลาดข้าวกลับสู่ภาวะปกติหลังจากที่ราคาข้าวได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยข้าวในสต็อกจะส่งมอบให้กับผู้ค้าส่งในช่วงกลางเดือนมีนาคม 2568 หลังการประมูล และคาดว่าจะวางจำหน่าย
ในร้านค้าช่วงปลายเดือนมีนาคมจนถึงต้นเดือนเมษายน 2568 ข้าวที่ถูกระบายออกส่วนใหญ่มาจากฤดูการเก็บเกี่ยวในปี 2567 และบางส่วนมาจากปี 2566 แม้ว่าข้าวที่เก็บเกี่ยวได้ในปี 2567 จะมีปริมาณ 6,790,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ตัน แต่ปริมาณที่ผู้จัดจำหน่ายรายใหญ่ได้รับในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2567 กลับลดลง 210,000 ล้านตัน
กระทรวงเกษตรฯ คาดว่า ผู้ค้าส่งและเกษตรกรจะกักตุนข้าวไว้ เนื่องจากคาดว่าราคาจะปรับสูงขึ้นอีก นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ผ่อนคลายมาตรการต่างๆ เพื่อให้สามารถระบายข้าวจากสต็อกได้ และเตรียมรับมือกับราคาข้าวที่อาจปรับสูงขึ้น นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่ผลผลิตตกต่ำ ทั้งนี้ รัฐบาลมีแผน
จะขายข้าวสารที่เก็บไว้ให้กับสหกรณ์การเกษตรและผู้ค้าส่งรายอื่นๆ โดยมีเงื่อนไขว่ารัฐบาลสามารถซื้อกลับคืน
ในปริมาณเท่าเดิมกันภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อป้องกันไม่ให้ราคาข้าวตกต่ำเกินไป
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.60 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.15
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) สัปดาห์ก่อนไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 489.00 เซนต์ (6,539.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.41 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 44.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนกุมพาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.86 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.33
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.68 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.59 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.18
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.42 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 3.50
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 49.75 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 49.53 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.44
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.36 ริงกิตมาเลเซีย (36.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,181.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (40.13 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.40
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สำนักงานอาหารแห่งชาติสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (National Food Agency: NFA) รายงานว่า อินโดนีเซียมีแผนนำเข้าน้ำตาลทรายดิบประมาณ 200,000 เมตริกตัน เพื่อเติมในคลังสำรองอาหารของรัฐบาล เนื่องจากราคาน้ำตาลทรายขาวในตลาดภายในประเทศพุ่งสูงขึ้นก่อนถึงเดือนรอมฎอน ขณะที่นาย Arief Prasetyo Adi ประธานกรรมการบริหารสำนักงานอาหารแห่งชาติ กล่าวว่า แผนการนำเข้านี้เป็นการนำเข้าเพื่อเพิ่มระดับสต็อกน้ำตาลของรัฐบาล ไม่ใช่เพราะการขาดแคลนผลผลิต โดยรัฐบาลสามารถใช้สต็อกน้ำตาล เพื่อเพิ่มปริมาณอุปทานน้ำตาลในท้องตลาดและลดราคาน้ำตาลทรายในประเทศลงได้ ทั้งนี้ รัฐบาลได้ประมาณการผลผลิตน้ำตาลทรายขาวในประเทศปี 2568 ที่ 2.6 ล้านตัน ความต้องการน้ำตาลทรายในประเทศที่ 2.84 ล้านตัน สต๊อกน้ำตาลทรายขาว ณ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 842,000 ตัน โดยมีโควตานำเข้าน้ำตาลทรายดิบสำหรับใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่ 3.4 ล้านตัน (ที่มา: reuters.com)
- Hedgepoint Global Market คาดการณ์ว่า ผลผลิตอ้อยในปี 2568/69 ของบราซิลจะอยู่ที่ 82 ตันต่อเฮกตาร์ (ประมาณ 13.12 ตันต่อไร่) หรือคิดเป็นผลผลิตรวมที่ 630 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ของปี 2567/68 ที่ 617.17 ล้านตัน อย่างไรก็ตาม พื้นที่เพาะปลูกอาจลดลงเนื่องจากไฟป่าและอ้อยมีสภาพไม่แข็งแรง โดยคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกในปี 2568/69 จะลดลงร้อยละ 2 แต่การเริ่มเพาะปลูกที่ล่าช้าในเดือนพฤศจิกายนอาจส่งผลต่อคาดการณ์นี้ ขณะเดียวกันในภูมิภาคกลาง – ใต้ของบราซิล คาดว่าจะมีผลผลิตน้ำตาลทรายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอ้อย และสัดส่วนการนำอ้อยไปผลิตน้ำตาลทรายที่มากกว่าการผลิตเอทานอล โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้ำตาลทรายที่สูงกว่าราคาเอทานอล (ที่มา: chinimandi.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.14 บาท ราคาทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,060.00 เซนต์ (13.23 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 306.76 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.42 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.52
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.75 เซนต์ (34.24 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.48
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1040.20 ดอลลาร์สหรัฐ (34.91 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.15 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 860.60 ดอลลาร์สหรัฐ (28.88 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.25 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.14 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,458.80 ดอลลาร์สหรัฐ (48.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และเพิ่มขึ้นนรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.21 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 920.60 ดอลลาร์สหรัฐ (30.89 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ0.13 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 974.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.16 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.13 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,074 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,471 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 955 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.20 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.58 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.02 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.07 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 74.33 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 2,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.35 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.25 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 77.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.97 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 41.07 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 40.77 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูก ไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้
ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.47 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.86 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 349 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 355 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.69 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 353 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาทลดลงจากร้อยฟองละ 392 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.10 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 419 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 391 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 480 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.41 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.50 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 91.00 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.34 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.79 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.81 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 12.55 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.29 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.20 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.37 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.63 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 165.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 5.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.26 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา