- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์

สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 กุมภาพันธ์ 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.149 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.55 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - กุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.895 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.59 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.112 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.41 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.679 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 8.63 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด และคาดว่าผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2568 ปริมาณรวม 5.33 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 67.73 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,247 บาท ราคาลดลงจากตันละ 15,275 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,524 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,809 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.24
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 33,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 33,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.59
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 13,050 บาท ราคาลดลงจากตันละ 13,100 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.38
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 945 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,595 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 940 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,620 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.53 แต่ลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 25 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 432 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,443 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตัน 430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,465 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 22 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 444 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,845 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,868 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.45 แต่ลดลงในรูปเงินบาทตันละ 23 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4340 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 ผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.306 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.667 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.523 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.35 การส่งออก/นำเข้า 58.534 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.08 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.626 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.19
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา
สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฟิลิปปินส์ จีน ไอเวอรี่โคสต์ แอฟริกาใต้ อิหร่าน สหรัฐอาหรับ-
เอมิเรตส์ กานา บังกลาเทศ โมซัมบิก คาเมอรูน เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ เวียดนาม สหภาพยุโรป อิรัก มาเลเซีย อินโดนีเซีย บราซิล เม็กซิโก เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) เวียดนาม
กระทรวงเกษตรและการพัฒนาชนบทของเวียดนาม (Ministry of Agriculture and Rural Development; MARD) ได้รายงานแผนการส่งออกข้าวในปี 2568 ว่าจะส่งออกข้าวได้มากกว่า 7.5 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง โดยคาดว่าภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงจะสามารถผลิตข้าวได้ประมาณ
24 ล้านตัน ทั้งนี้ เวียดนามมีแผนส่งออกข้าวในช่วงครึ่งปีแรก (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ประมาณ 4.53 ล้านตัน และในช่วงครึ่งปีหลัง (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม) อีกประมาณ 3 ล้านตัน นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ได้เสนอให้กระทรวงการค้าเร่งส่งเสริมการส่งออกข้าวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน และช่วงเดือนกรกฎาคม – กันยายน ซึ่งเป็นช่วงที่การผลิตข้าวออกสู่ตลาดมาก
ในปี 2568 คาดว่าเวียดนามจะมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 7 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 43.75 ล้านไร่) และคาดว่ามีผลผลิตข้าวประมาณ 43.1 ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2567 พื้นที่เพาะปลูกข้าวลดลงประมาณ
0.13 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 0.83 ล้านไร่) และผลผลิตลดลงประมาณ 0.32 ล้านตัน
ที่มา สำนักข่าวซินหัวไทย
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
2) จีน
กระทรวงเกษตรของจีน ได้สนับสนุนการปลูกข้าวตอซังหรือข้าวตอสอง (ratoon rice) ตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป โดยมีแผนที่จะขยายพื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองเพิ่มขึ้นประมาณ 667,000 เฮกตาร์ (ประมาณ 4,168,750 ไร่) ภายในปี 2573 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สำนักข่าวรอยเตอร์ (Reuters) รายงานว่า กระทรวงเกษตรฯ มีแผนที่จะปรับปรุงสายพันธุ์ข้าว เทคนิคการเพาะปลูก และนโยบายสนับสนุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวตอสอง ซึ่งข้าวตอสองเป็นข้าวที่ปลูกขึ้นใหม่จากตอข้าวหลังการเก็บเกี่ยวรอบแรก ช่วยให้สามารถเก็บเกี่ยวข้าวในรอบที่สองได้เร็วขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตในบางพื้นที่ โดยในปี 2565 พื้นที่เพาะปลูกข้าวตอสองในจีนมีประมาณ 1 ล้านเฮกตาร์ (ประมาณ 6.25 ล้านไร่) ทั้งนี้ จีน
ได้ตั้งเป้าหมายที่จะเพิ่มผลผลิตข้าวตอสองให้ได้ร้อยละ 66.7 ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2565 เพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารสำหรับประชากร 1.4 พันล้านคน
นอกจากนี้ กระทรวงเกษตรฯ ยังได้ประกาศแผนริเริ่มด้านเทคโนโลยีชีวภาพระยะ 5 ปี เพื่อพัฒนาเครื่องมือการปรับแต่งพันธุกรรมและสร้างสายพันธุ์พืชใหม่ๆ โดยคาดว่าจีนจะประกาศแผนพัฒนาภาคชนบทประจำปี
หรือที่เรียกว่า "เอกสารหมายเลข 1" ในเร็วๆ นี้
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.62 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.55 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.52 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.49 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.24
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,478.00 บาท/ตัน) ทรงตัวเท่ากับตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,529.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อน แต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 51.00 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,237.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,219.09 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.55 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 187.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.11 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.21 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ จีน อิหร่าน โคลอมเบีย ซาอุดีอาระเบีย เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก อังกฤษ ชิลี ตุรกี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลงราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนมีนาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน
ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 497.00 เซนต์ (6,624.00 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 491.00 เซนต์ (6,583.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 41.00 บาท
.png)
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91 โดยเดือน
กุมภาพันธ์ 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.77 ล้านตัน (ร้อยละ 21.21 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.87 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 1.86 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.54
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.73 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.67 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.06
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.64 บาท ราคาเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.59 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.89
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,190 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาทต่อตัน)
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนกุมภาพันธ์จะมีประมาณ 1.395 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.251 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.235 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.222 ล้านตันของเดือนมกราคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 12.96 และร้อยละ 13.06 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 9.23 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.75 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 5.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 47.58 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.75 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.36
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
มาเลเซียคาดการณ์ว่าการส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังจีนในปีนี้จะยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าราคาน้ำมันปาล์มจะสูงกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคชาวจีนจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
ในปี 2567 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซียไปยังจีนปรับตัวลดลง เนื่องจากราคาน้ำมันถั่วเหลืองลดลงต่ำกว่าน้ำมันปาล์ม ประกอบกับปริมาณการบริโภคน้ำมันที่ลดลงจากแนวโน้มพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามการบริโภคน้ำมันเมล็ดในปาล์มกลับเพิ่มสูงขึ้น
สำหรับปี 2568 มาเลเซียยังคงตั้งเป้าหมายให้การส่งออกน้ำมันปาล์มไปจีนเติบโตขึ้น หรืออย่างน้อยสามารถรักษาระดับการส่งออกให้คงที่จากปีที่ผ่านมา
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,791.05 ริงกิตมาเลเซีย (36.93 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,795.39 ริงกิตมาเลเซีย (36.97 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.09
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,256.25 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.51 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,210.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.20 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.82
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
- สมาคมโรงงานน้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) รายงานข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 การผลิตน้ำตาลของอินเดียปีการตลาด 2567/68 ลดลงร้อยละ 12 คงเหลือปริมาณ 19.70 ล้านตัน จาก 22.42 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยผลผลิตน้ำตาลในปี 2567/68 ของรัฐผู้ผลิตสำคัญ
เช่น รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) มีปริมาณ 6.40 ล้านตัน รัฐมหาราษฏระ (Maharashtra) 6.82 ล้านตัน และรัฐกรณาฏกะ (Karnataka) 3.58 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเวลาเดียวในปีก่อนหน้าที่มีปริมาณผลผลิต 6.78 ล้านตัน 7.95 ล้านตัน และ 4.32 ล้านตัน ตามลำดับ ขณะเดียวกัน ISMA ระบุว่า ณ วันที่ 31 มกราคม 2568 มีการนำอ้อยไปใช้
ในการผลิตเอทานอลที่ปริมาณ 1.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.83 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา (ที่มา: The Economics Times)
- ราคาน้ำตาลในตลาดโลกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงหนุนจากปัจจัยด้านผลผลิตน้ำตาลของอินเดีย ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 ที่ลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า รวมถึงปัจจัยการแข็งค่าของสกุลเงินเรียลบราซิล (BRL) เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (USD) ส่งผลให้ผู้ผลิตน้ำตาลของบราซิลชะลอการขายเพื่อการส่งออก ขณะเดียวกัน Alvean ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของบราซิล ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยในบางพื้นที่ และหากปริมาณน้ำฝนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้การเก็บเกี่ยวอ้อยที่จะเริ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2568 ต้องล่าช้าออกไป และอาจกระทบต่อการผลิตน้ำตาลได้ (ที่มา: nasdaq.com, barchart.com)
(1).png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.09 บาท ลงลดจากกิโลกรัมละ 17.14 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,038.70 เซนต์ (12.92 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,037.28 เซนต์ (12.98 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.14
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 294.83 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.98 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 295.96 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.08 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 46.92 เซนต์ (34.99 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 45.97 เซนต์ (34.50 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.07
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1047.60 ดอลลาร์สหรัฐ (35.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1042.25 ดอลลาร์สหรัฐ (35.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 866.80 ดอลลาร์สหรัฐ (28.98 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 862.75 ดอลลาร์สหรัฐ (29.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.47 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.04 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,469.40 ดอลลาร์สหรัฐ (49.13 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,461.50 ดอลลาร์สหรัฐ (49.16 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.54 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.03 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 927.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 922.50 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.56 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 981.60 ดอลลาร์สหรัฐ (32.82 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 976.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.57 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.51
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,068 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,074 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.29
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,549 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,471 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5.30
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 842 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 955 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 11.81
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 73.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 73.20 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.59 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 67.19 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 77.50 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 75.58 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,400 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.25 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.32 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 41.07 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.39 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 348 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 349 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 352 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 349 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 372 บาททรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 422 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 420 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 445 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 423 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 398 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 450 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 460 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 67.56 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 67.41 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.22 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.61 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 60.97 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 57.57 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 90.58 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 56.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.34 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.51 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธ์ 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.88 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 66.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 10.93 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.35 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.29 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.06 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 161.97 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.71 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.00 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 24.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา