- ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร
- สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์

สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 10-16 มีนาคม 2568
ข้าว
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 12.005 ล้านไร่ ผลผลิต 7.864 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 655 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.125 ล้านไร่ ผลผลิต 6.560 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 648 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 18.57 ร้อยละ 19.88 และร้อยละ 1.08 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง
ไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นา
ที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568
มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.619 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.30 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.298 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 41.93 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.566 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 58.07 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,189 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,174 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,243 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,475 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,350 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 33,882 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.38
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,750 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,850 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 942 ดอลลาร์สหรัฐฯ (31,576 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.56 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 1,457 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 431 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,447 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.62 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 228 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
443 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,849 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 26 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.5365 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) ไทย – สหรัฐอเมริกา
รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความไม่มั่นคงจากนโยบายการปกป้องทางการค้าของสหรัฐอเมริกา ภายใต้แนวคิด America First ซึ่งสหรัฐฯ ใช้มาตรการทางภาษีศุลกากรเพื่อเจรจาต่อรองทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ที่ได้เปรียบดุลการค้ากับสหรัฐฯ โดยประเทศไทยถือเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกปรับเพิ่มภาษีสินค้า เนื่องจากในปี 2567 ประเทศไทยมีลำดับการค้าระหว่างประเทศอยู่ที่อันดับ 11 ของโลก สินค้าที่สหรัฐฯ ประกาศจะปรับเพิ่มภาษีส่วนใหญ่จะอยู่ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ยังไม่สามารถคาดเดาได้แน่ชัดว่าในกลุ่มสินค้าเกษตร
ของไทยได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวหรือไม่ ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่ไทยส่งออกไปยังสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ซึ่งมีปริมาณการส่งออกประมาณ 830,000 ตันต่อปี โดยในจำนวนนี้เป็นข้าวหอมมะลิและข้าวหอมที่มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 85 หรือประมาณ 705,500 ตัน ดังนั้น นโยบายการปกป้องทางการค้า (Protectionism) ของ
นาย Donald John Trump ประธานาธิบดีสหรัฐฯ จึงเพิ่มความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยไปยังสหรัฐฯ รวมถึงสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ แร่ธาตุบางชนิด และอื่นๆ นอกจากนี้ สหรัฐฯ ในอดีตไม่มีการเก็บภาษีนำเข้าข้าวจากประเทศใดๆ หากมีการเก็บภาษีหรือปรับเพิ่มภาษี จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกข้าวไทยไปยังสหรัฐฯ ซึ่งอาจทำให้ปริมาณการส่งออกลดลง พร้อมทั้งมีความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่สูงขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกของเกษตรกรไทย
จากข้อมูลของสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยร่วมกับกรมศุลกากร พบว่า ในปี 2567 ประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 9.94 ล้านตัน มูลค่า 225,656 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.4 และร้อยละ 26.6 ตามลำดับ โดยสหรัฐฯ เป็นตลาดส่งออกข้าวอันดับ 3 ของไทย รองจากอินโดนีเซีย และอิรัก โดยไทยส่งออกข้าวไปยังสหรัฐฯ จำนวน 0.85 ล้านตัน มูลค่า 28,029 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2566 ทั้งปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 และร้อยละ 27.8 ตามลำดับ สำหรับปี 2568 (ระหว่างเดือนมกราคมถึง 24 กุมภาพันธ์ 2568)
การส่งออกข้าวของไทยลดลง โดยสามารถส่งออกได้ 1.1 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ของปี 2567 ที่ส่งออกได้ 1.6 ล้านตัน สาเหตุหลักมาจากการที่อินเดียผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก กลับมาส่งออกข้าวขาวอีกครั้ง ขณะที่ราคาส่งออกข้าวของไทยสูงกว่าคู่แข่ง และประเทศคู่ค้ายังคงมีนโยบายลดการนำเข้า รวมทั้งผลกระทบจากค่าเงินบาทที่ยังผันผวน ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะสามารถส่งออกข้าวได้ประมาณ 7.5 ล้านตัน
ที่มา ฐานเศรษฐกิจ
2) ญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นมีแผนที่จะเพิ่มการส่งออกข้าวประมาณ 8 เท่า โดยตั้งเป้าหมายการส่งออกข้าวให้ได้ถึง 350,000 ตัน คิดเป็นมูลค่า 92,200 ล้านเยน (ประมาณ 20,717 ล้านบาท) ภายในปี 2573 เมื่อเทียบกับปี 2567แผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการผลิตข้าว โดยการขยายจำนวนเกษตรกรที่ทำนาบนพื้นที่ 15 เฮกตาร์ (ประมาณ 93.75 ไร่) ขึ้นไป พร้อมกับลดต้นทุนการผลิตจาก 11,350 เยน (ประมาณ 2,550 บาท) เหลือ 9,500 เยน (ประมาณ 2,134 บาท) ต่อ 60 กิโลกรัม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับข้าวนำเข้าที่มีราคาถูกกว่า และเพื่อรักษาระดับอุปทานข้าวในประเทศให้เพียงพอต่อความต้องการ แม้ว่าขณะนี้ญี่ปุ่นกำลังประสบปัญหาขาดแคลนข้าวในประเทศ แต่คาดว่าอุปสงค์ข้าวในระยะยาวจะลดลงจากการลดลงของจำนวนประชากร ดังนั้น การเพิ่มการส่งออกจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ
นอกจากนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารรวมจาก
1.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.337 ล้านล้านบาท) ในปี 2567 เป็น 5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.124 ล้านล้านบาท) ในปี 2573 และยังตั้งเป้าหมายกระตุ้นการใช้จ่ายในการบริโภคอาหารของนักท่องเที่ยวขาเข้าจาก 1.6 ล้านล้านเยน (ประมาณ 0.360 ล้านล้านบาท) เป็น 4.5 ล้านล้านเยน (ประมาณ 1.011 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ สำนักข่าวเกียวโด (Kyodo News) รายงานว่า ร่างแผนการเกษตรขั้นพื้นฐานที่ปรับปรุงทุก ๆ 5 ปี ได้เน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตข้าว นอกเหนือจากการเพิ่มการส่งออกข้าว โดยแผนยังได้ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงทางภูมิรัฐศาสตร์ และ
การลดลงของจำนวนเกษตรกรในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพในการผลิตและอุปทานอาหารภายในประเทศ
ที่มา สำนักข่าวอินโฟเควสท์
หมายเหตุ 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่
อัตราแลกเปลี่ยน 1 เยน เท่ากับ 0.2247 บาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.72 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.64 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.93 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.90 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.73 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.47 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.48 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.10
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนแต่ลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 10.00 บาท
มันสำปะหลัง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36 ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.77 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.80 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.67
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.44 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.62 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 3.20
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.61 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.50
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.97 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 14.00 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.21
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ราคาลดลงจากตันละ 422.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,340 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.36
ปาล์มน้ำมัน
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน
คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.08 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.65
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.05 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.51
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 4,670.70 ริงกิตมาเลเซีย (36.10 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.92
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,228.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41.79 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.49
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน
อ้อยและน้ำตาล
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ที่ 497.14 บาท/ตันอ้อย ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. ทั้งนี้ ครม. ได้มีข้อเสนอเพิ่มเติมให้พิจารณามาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผลิตภาพต่ำกว่าพื้นที่อื่น ๆ โดยเน้นการส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น การสนับสนุนเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อลดต้นทุนแรงงานและระยะเวลาการผลิต รวมถึงส่งเสริมการตัดอ้อยสดแทนการเผาอ้อย (ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ)
- สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
(ที่มา: newindianexpress.com)
.png)
ถั่วเหลือง
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,000.80 เซนต์ (12.51 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.47
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 292.52 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.95 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.20
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.) ลดลงจากปอนด์ละ 42.62 เซนต์ (31.96 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 3.19
ยางพารา
ถั่วเขียว
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.55
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1012.80 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.22 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 953.00 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,102.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 923.00 ดอลลาร์สหรัฐ (31.02 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.20 และลดลงในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 827.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.24 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วลิสง
สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.37 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.38 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 16.52
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ฝ้าย
ไหม
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,038 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,046 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.39
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,460 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,447 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.90
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 925 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ปศุสัตว์
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเนื้อสุกรที่ออกสู่ตลาดมีสอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 75.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 74.52 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.53 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 79.34 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 77.08 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,500 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 78.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.55 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.09 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 42.16 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.02 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 และราคาขาย
ส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 341 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 343 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 341 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 343 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 341 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 419 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 422 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.71 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 442 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ร้อยฟองละ 424 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 460 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 64.72 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.94 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.74 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.11 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 55.66 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.09 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 58.02 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 56.92 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.93 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.29 บาท ภาคกลางและภาคใต้ไม่มี
ประมง
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 10 – 16 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.86 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 54.61 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.25 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.65 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.48 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.17 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 150.21 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.81 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.60 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 155.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 154.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 75.25 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 6.53 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท
และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.00 บาท