สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 17-23 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,243 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,189 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 8,304 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 8,243 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.74
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 34,990 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,350 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.86
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,650 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,750 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.78
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 985 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,033 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.61 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 89 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ราคาสูงขึ้นจากตันละ 424 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,219 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.71 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 52 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
442 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,823 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.68 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 150 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.4226 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
2.1 สถานการณ์ข้าวโลก
1) การผลิต
ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์ผลผลิตข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 ผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 522.310 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2566/67 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.98
2) การค้าข้าวโลก
บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้คาดการณ์บัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2567/68 ณ เดือนมีนาคม 2568 มีปริมาณผลผลิต 532.663 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.98 การใช้ในประเทศ 530.712 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.38 การส่งออก/นำเข้า 58.499 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2566/67 ร้อยละ 2.41 และสต็อกปลายปีคงเหลือ 181.509 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2566/67 ร้อยละ 1.09
- ประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ อินเดีย บราซิล อุรุกวัย ปารากวัย กายานา อาร์เจนตินา และสหภาพยุโรป ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน กัมพูชา เมียนมา จีน ตุรกี ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
- ประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อิรัก ไอเวอรี่โคสต์ บังกลาเทศ แอฟริกาใต้ อิหร่าน กานา
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โมซัมบิก เยเมน และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม สหภาพยุโรป มาเลเซีย กินี บราซิล เม็กซิโก อินโดนีเซีย เคนยา และญี่ปุ่น
- ประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย ไนจีเรีย และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือปลายปีลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย
2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
1) อินโดนีเซีย
รัฐบาลอินโดนีเซียได้จัดสรรเงินงบประมาณจำนวน 16.6 ล้านล้านรูเปียห์ (ประมาณ 31,061.9 ล้านบาท) สำหรับการจัดหาข้าวเปลือกจากเกษตรกรท้องถิ่น ในปี 2568 โดยกระทรวงการคลังได้แต่งตั้งหน่วยงานด้านโลจิสติกส์แห่งชาติของอินโดนีเซีย (Bulog) เป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการงบประมาณดังกล่าวและดูแลกระบวนการจัดซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกร ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายในการหยุดการนำเข้าข้าวเพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเองทางด้าน
การผลิตข้าว โดยอินโดนีเซียจะต้องมีผลผลิตข้าวเกินดุลขั้นต่ำประมาณ 5 – 6 ล้านตัน เนื่องจากผลผลิตข้าวรวม
ทั้งประเทศอยู่ที่ประมาณ 30 – 31 ล้านตันต่อปี จึงจำเป็นต้องมีผลผลิตข้าวให้มีเกินดุลอย่างน้อย 5 – 6 ล้านตันตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถหยุดการนำเข้าข้าวได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันผลผลิตข้าวของอินโดนีเซียจนถึงเดือนเมษายน 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตเกินดุลมากกว่าปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าผลผลิตเกินดุลประมาณ 2.8 – 3 ล้านตัน
ในการนี้ รัฐบาลได้มุ่งเน้นกลยุทธ์ในการเพิ่มผลผลิตข้าวในระยะยาว โดยมีเป้าหมายที่จะทำให้อินโดนีเซียสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตข้าวและรักษาผลผลิตส่วนเกินประจำปีไว้ที่ประมาณ 5 – 6 ล้านตันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้บรรลุผลการผลิตที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย รัฐบาลจึงเน้นย้ำให้มีการเร่งกระบวนการเกษตรกรรม โดยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชทดแทนทันทีหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ถึงสามครั้งต่อปี
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย
หมายเหตุ  อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 1.8712 บาท
2) ปากีสถาน
สำนักข่าว Bloomberg รายงานว่า ปากีสถานเตรียมเพิ่มการส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศจาก 60,000 ตัน เป็น 200,000 ตัน เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการส่งออกข้าวของประเทศ โดยก่อนหน้านี้ปากีสถานได้กลับมาส่งออกข้าวไปยังบังกลาเทศอีกครั้งหลังจากทำข้อตกลงกับรัฐบาลรักษาการของบังกลาเทศ
ทั้งนี้ รัฐบาลปากีสถานยังได้ยุติการใช้การรมยาเมทิลโบรไมด์เพื่อป้องกันการสกัดกั้นการส่งออกข้าวไปยังยุโรป พร้อมทั้งกระตุ้นการส่งออกสินค้าเกษตร โดยกระทรวงความมั่นคงทางอาหารและการวิจัยแห่งชาติ (The Ministry of National Food Security & Research) ได้ตัดสินใจที่จะดำเนินการรมยาฯ ในประเทศผู้นำเข้าแทน ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสามารถลดต้นทุนสำหรับผู้ส่งออกได้ และการดำเนินการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มสามารถในการแข่งขันของข้าวปากีสถานในตลาดโลก นอกจากนี้ ปากีสถานยังมีแผนที่จะตรวจสอบเงื่อนไขการนำเข้าอย่างเข้มงวด และใช้มาตรการต่อต้านการทุจริตในระบบการค้าอย่างเคร่งครัดในอนาคต เพื่อสนับสนุนความโปร่งใสและปรับปรุงชื่อเสียงของประเทศในฐานะผู้ส่งออกข้าวที่มีความน่าเชื่อถือ
ที่มา สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้
ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.79 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.72 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.80 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.94 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.47 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน)  ไม่มีรายงานราคาของสัปดาห์ก่อน
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2567/68 มีปริมาณ 1,239.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,218.97 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 1.66 โดย จีน บราซิล เม็กซิโก อินเดีย เวียดนาม อียิปต์ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และรัสเซีย             
มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าของโลกมี 186.80 ล้านตัน ลดลงจาก 198.07 ล้านตัน ในปี 2566/67 ร้อยละ 5.69 โดย บราซิล ยูเครน รัสเซีย ปารากวัย สหภาพยุโรป เมียนมา แคนาดา แอฟริกาใต้ และเซอร์เบีย ส่งออกลดลง ประกอบกับผู้นำเข้า เช่น สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้ อิหร่าน จีน ซาอุดีอาระเบีย ไต้หวัน เปรู มาเลเซีย โมร็อกโก ตุรกี อังกฤษ ชิลี แคนาดา ไทย กัวเตมาลา ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐโดมินิกัน และบราซิล มีการนำเข้าลดลง
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 465.00 เซนต์ (6,218.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.43 และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 53.00 บาท





 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.665 ล้านไร่ ผลผลิต 27.064 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,123 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.874 ล้านไร่ ผลผลิต 28.624 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,226 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว    ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 2.36  ร้อยละ 5.45 และร้อยละ 3.19 ตามลำดับ โดยเดือน มีนาคม 2568
คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.30 ล้านตัน (ร้อยละ 19.58 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.89 ล้านตัน (ร้อยละ 58.73 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.75 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.77 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.44 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 2.21
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.89 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.97 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.57
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,250 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 421.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,230 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.24


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตันของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.12 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.08 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 0.66
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.85 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.19
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
อินโดนีเซียจะปรับภาษีส่งออกจากเดิม ร้อยละ 3 - 7.5 เป็น ร้อยละ 4.5 – 10 เพื่อเป็นเงินทุนสำหรับการเพิ่มการใช้น้ำมันปาล์มในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล ตามแผนการปรับเพิ่มอัตราการผสมไบโอดีเซลเป็น ร้อยละ 40 ในปี 2568 จากเดิมร้อยละ 35
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,760.56 ริงกิตมาเลเซีย (36.83 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.72  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,246.67 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.32 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.27 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - ไม่มีรายงาน
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - BarChart รายงานว่า นักอุตุนิยมวิทยาคาดการณ์สภาพอากาศชื้นจะกลับมาปกคลุมภาคกลาง – ใต้ของบราซิลในสัปดาห์นี้ ซึ่งจะช่วยบรรเทาสภาพอากาศที่แห้งแล้ง และอาจส่งผลกดดันราคาน้ำตาลในตลาดโลกให้ปรับตัวลงได้ สอดคล้องกับ Datagro ที่คาดการณ์ว่าปริมาณน้ำฝนในภาคกลาง – ใต้ของบราซิลช่วงครึ่งหลัง
ของเดือนมีนาคม 2568 จะเพิ่มขึ้น และจะใกล้เคียงกับระดับปกติในเดือนเมษายน 2568 อย่างไรก็ตาม การเปิดหีบของฤดูการผลิตนี้ยังคงไม่ชัดเจน โดยมีโรงงานน้ำตาลบางแห่งอาจเริ่มเปิดหีบในเดือนพฤษภาคม 2568 ขณะที่การเจริญเติบโตของอ้อยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ ด้าน Archer Consulting
คาดการณ์ปริมาณผลผลิตอ้อยของบราซิลที่ 595 – 630 ล้านตัน
          - สหพันธ์สหกรณ์โรงงานน้ำตาลแห่งชาติของอินเดีย (The National Federation of Cooperative Sugar Factories Limited: NFCSF) รายงานข้อมูล ณ กลางเดือนมีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 23.71 ล้านตัน ซึ่งลดลงร้อยละ 16 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยคาดว่าโรงงานน้ำตาล
ส่วนใหญ่จะปิดหีบภายในสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ขณะที่รัฐอุตตรประเทศ (Uttar Pradesh) คาดว่าจะปิดหีบภายในกลางเดือนเมษายน 2568 นอกจากนี้ NFCSF ยังระบุว่า รัฐบาลอินเดียตัดสินใจอนุมัติให้ส่งออกน้ำตาลโดยใช้การคาดการณ์ปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่สูงกว่าความเป็นจริง ขณะที่สมาคมการค้าน้ำตาลแห่งอินเดีย
(All India Sugar Trade Association: AISTA) รายงานว่า ณ วันที่ 11 มีนาคม 2568 อินเดียมีปริมาณการส่งออกน้ำตาลที่ 150,000 ตัน ทั้งนี้ แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมกล่าวเพิ่มเติมว่า มีแนวโน้มที่อินเดียจะไม่สามารถส่งออกน้ำตาลได้ครบโควตา 1 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,011 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 996.08 เซนต์ (12.43 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.57
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 296.02 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.30
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 41.26 เซนต์ (30.87 บาท/กก.)  ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.62
 

 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 บาท ลดลงจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.35
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 1015.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.04 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 954.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.42 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ ละ 1,105.20 ดอลลาร์สหรัฐ (37.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.40 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.02 บาท
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) เพิ่มขึ้นจากตันละ 924.80 ดอลลาร์สหรัฐ (31.01 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 829.00 ดอลลาร์สหรัฐ (27.80 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.39 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.45 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.37 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.28
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,061 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,038 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 1.12
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 1,460 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 4.38
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 925 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.59


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  76.44 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.78 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.45 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 69.18 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.26 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 79.40 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,600 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.00 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 82.10 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 80.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.99 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 42.09 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท
ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.53 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 340 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 341  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 337 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 418  บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 419  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.26 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 436 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 424 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 392 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 445 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.01 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 64.72 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.45 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 61.96 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 85.30 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.11 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.02 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.58 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 51.20 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน
 

 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 17 – 23 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.95 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 55.86 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.91 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.30 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 81.65 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.65 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 149.32 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 150.21 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.89 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคลดลง
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.17 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 155.00 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 4.17 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา