สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 

 


สถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสัปดาห์ 24-30 มีนาคม 2568

 

ข้าว
 
1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 การผลิต
1) ข้าวนาปี ปี 2567/68 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2567 มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.020 ล้านไร่ ผลผลิต 27.007 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2566/67 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 62.098 ล้านไร่ ผลผลิต 26.934 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 431 กิโลกรัม เนื้อที่เพาะปลูกลดลงร้อยละ 0.13 ในขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.27 และร้อยละ 0.23 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลง เนื่องจากเกษตรกร    มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน หรือมันสำปะหลัง สำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำฝนภายหลังจากที่เพาะปลูกแล้วเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับราคาที่เกษตรกรขายได้ยังจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษา ถึงแม้ว่าในบางจังหวัดประสบอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน 2567 มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานทำให้ผลผลิตเสียหาย และบางพื้นที่มีการระบาดของแมลงหวี่ขาว แต่พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว และไม่พบการระบาดของโรคและแมลง ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 โดยเดือนมีนาคม 2568 ผลผลิตออกสู่ตลาด ปริมาณ 0.044 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 0.16 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคม - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 26.939 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 99.75 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 0.068 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 0.25 ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
2) ข้าวนาปรัง ปี 2568 สศก. คาดการณ์ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2568 มีเนื้อที่เพาะปลูก 11.624 ล้านไร่ ผลผลิต 7.605 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 654 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 10.058 ล้านไร่ ผลผลิต 6.545 ล้านตัน ผลผลิตต่อไร่ 651 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก ปี 2567 ร้อยละ 15.57 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 0.46 ตามลำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่เริ่มขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน 2567 และคาดว่าจะเกิดขึ้นต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี 2568 จะทำให้ปริมาณน้ำฝนมากกว่าปกติ รวมถึงน้ำในอ่างเก็บน้ำส่วนใหญ่และน้ำตามแหล่งน้ำธรรมชาติเมื่อต้นฤดูกาลเพาะปลูกมีปริมาณมากกว่าปีที่แล้ว จูงใจให้เกษตรบางส่วนขยายเนื้อที่เพาะปลูกในที่นาที่เคยปล่อยว่าง เพื่อปลูกชดเชยข้าวนาปีที่เสียหายจากน้ำท่วม สำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ำเพียงพอต่อต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว
คาดการณ์ผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2568 โดยในเดือนมีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 2.535 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 33.34 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด โดยตั้งแต่ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2568 มีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.216 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 42.29 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด คงเหลือผลผลิตที่คาดว่าจะออกสู่ตลาดอีกประมาณ 4.389 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 57.71 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
1.2 ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ข้าวเปลือกเจ้านาปีหอมมะลิ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 15,331 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 15,243 บาท  ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.58
ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 7,994 บาท ราคาลดลงจากตันละ 8,304 บาท
ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.73
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ข้าวหอมมะลิ 100% ชั้น 1 (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 35,150 บาท ราคาสูงขึ้นจากตันละ 34,990 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.46
ข้าวขาว 5% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 12,550 บาท ราคาลดลงจากตันละ 12,650 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79
3) ราคาส่งออกเอฟโอบี
ข้าวหอมมะลิไทย 100% (ใหม่) สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 982 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,082 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 991 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,122 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาท
ตันละ 40 บาท
ข้าวขาว 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 423 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,250 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 427 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,271 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.94 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 21 บาท
ข้าวนึ่ง 5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 435 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,654 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ
439 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,673 บาท/ตัน) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.91 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 19 บาท
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 33.6883 บาท
2. สถานการณ์ข้าวของประเทศผู้ผลิตและผู้บริโภคที่สำคัญ
          ฟิลิปปินส์
          การนำเข้าข้าวของฟิลิปปินส์ในปี 2568 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2568 มีปริมาณ 641,000 ตัน ลดลงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2567 นาย Raul Q. Montemayor กรรมการผู้จัดการสหพันธ์เกษตรกรเสรี (Federation of Free Farmers) กล่าวว่า การบังคับใช้มาตรการราคาขายปลีกสูงสุดที่แนะนํา (Maximum Suggested Retail Price; MSRP) ของกระทรวงเกษตรของฟิลิปปินส์ (Department of Agriculture; DA) อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การนำเข้าข้าวลดลงอย่างมาก ซึ่งกระทรวงเกษตรได้เริ่มบังคับใช้ MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2568 โดยกำหนดราคา MSRP ที่ 58 เปโซต่อกิโลกรัม (32.46 บาทต่อกิโลกรัม) และได้มีการปรับลดราคา MSRP ลงเป็น 52 เปโซต่อกิโลกรัม (29.10 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2568 และ 49 เปโซต่อกิโลกรัม (27.43 บาทต่อกิโลกรัม) ในวันที่ 1 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรยังระบุว่า หากแนวโน้มราคาข้าวในตลาดโลกยังคงที่อยู่และค่าเงินเปโซยังแข็งค่า รัฐบาลอาจจะปรับลดราคา MSRP สำหรับข้าวที่นำเข้าให้เหลือประมาณ 45 เปโซต่อกิโลกรัม (25.19 บาทต่อกิโลกรัม) ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2568 จากการลดลงของราคา MSRP อย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้นำเข้าข้าวต้องพิจารณาและประเมินความเสี่ยงด้านราคาก่อนการนำเข้า นอกจากนี้ ยังมีสินค้าคงเหลือจากการนำเข้าในปี 2567 ที่ยังไม่ได้จำหน่าย รวมถึงการประกาศภาวะฉุกเฉิน
ด้านความมั่นคงทางอาหารทำให้ผู้นำเข้ามีความกังวล เนื่องจากภายใต้กฎหมายป้องกันวินาศกรรมทางเศรษฐกิจด้านการเกษตรปี 2567 โดยรัฐบาลสามารถประกาศห้ามการจำหน่ายสินค้าคงคลัง หากมีการลักลอบนำเข้าสินค้า
การกักตุนสินค้า หรือการค้ากำไรเกินควร อย่างไรก็ตาม การนำเข้าข้าวที่ลดลงยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากใน
ไตรมาสแรกของปีเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งการนำเข้าข้าวในช่วงนี้จะส่งผลกระทบต่อราคาข้าวเปลือกและเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยตรง
          สำนักงานสถิติแห่งชาติฟิลิปปินส์ (The Philippine Statistics Authority; PSA) รายงานว่า ราคาข้าวทั่วไปขายปลีกในช่วงต้นเดือนมีนาคม 2568 อยู่ที่ 46.30 เปโซต่อกิโลกรัม (25.91 บาทต่อกิโลกรัม) ลดลงจากช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.19 เปโซต่อกิโลกรัม (26.41 บาทต่อกิโลกรัม) และยังต่ำกว่าราคาในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ 47.77 เปโซต่อกิโลกรัม (26.74 บาทต่อกิโลกรัม) โดยราคาข้าวเปลือก (ข้าวที่ยังไม่ได้สี) ลดลงร้อยละ 18.9 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 20.29 เปโซต่อกิโลกรัม (11.36 บาทต่อกิโลกรัม)
          ที่มา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
          หมายเหตุ อัตราแลกเปลี่ยนสัปดาห์นี้ 1 เปโซ เท่ากับ 0.5597 บาท

 


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์


สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
ราคาข้าวโพดในประเทศช่วงสัปดาห์นี้ มีดังนี้

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน 14.5% สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.82 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.79 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นเกิน 14.5%
สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.95 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.94 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.14
ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ  10.45 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 10.47 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.19
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 311.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,477.00 บาท/ตัน)  ลดลงจากตันละ 313.00 ดอลลาร์สหรัฐ (10,475.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.64 แต่สูงขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 2.00 บาท
ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนพฤษภาคม 2568 ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกันชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 455.00 เซนต์ (6,113.00 บาท/ตัน) ลดลงจากบุชเชลละ 463.00 เซนต์ (6,165.00 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.73
และลดลงในรูปของเงินบาทตันละ 52.00 บาท


 



มันสำปะหลัง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
การผลิต
ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 (เริ่มออกสู่ตลาดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – กันยายน 2568) คาดว่ามีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.629 ล้านไร่ ผลผลิต 27.196 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,152 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับปี 2567
ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 8.421 ล้านไร่ ผลผลิต 26.783 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3,181 กิโลกรัม พบว่า พื้นที่เก็บเกี่ยว และผลผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.47 และร้อยละ 1.54 ตามลำดับ แต่ผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.91
โดยเดือนมีนาคม 2568 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 5.11 ล้านตัน (ร้อยละ 18.78 ของผลผลิตทั้งหมด)
ทั้งนี้ผลผลิตมันสำปะหลังปี 2568 จะออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2568 ปริมาณ 15.56 ล้านตัน (ร้อยละ 57.23 ของผลผลิตทั้งหมด)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาหัวมันสำปะหลังสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.67 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 1.75 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 4.57
ราคามันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.26 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 5.32 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 1.13
ราคาขายส่งในประเทศ
ราคาขายส่งมันเส้น (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขต จ.ชลบุรี และ จ.อยุธยา) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ5.47 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชั้นพิเศษ (ส่งมอบ ณ คลังสินค้าเขตกรุงเทพ และปริมณฑล) สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 13.80 บาท ราคาลดลงจากกิโลกรัมละ 13.89 บาท ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.65
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาส่งออกมันเส้น สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,280 บาทต่อตัน) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ตันละ 185.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (6,230 บาทต่อตัน)
ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลัง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 417.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,170 บาทต่อตัน)  ราคาลดลงจากตันละ 420.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,130 บาทต่อตัน) ในสัปดาห์ก่อน คิดเป็นร้อยละ 0.60


 


ปาล์มน้ำมัน

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดว่าปี 2568 ผลผลิตปาล์มน้ำมันเดือนมีนาคมจะมีประมาณ 1.696 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.305 ล้านตัน สูงขึ้นจากผลผลิตปาล์มทะลาย 1.027 ล้านตัน คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ 0.185 ล้านตัน
ของเดือนกุมภาพันธ์ 2568 คิดเป็นร้อยละ 65.14 และร้อยละ 64.86 ตามลำดับ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้ เฉลี่ย กก.ละ 6.01 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.12 บาท ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ร้อยละ 1.80      
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 36.98 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.00 บาท ในกับสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.68   
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
สถานการณ์ในต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเทศ

ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 4,627.58 ริงกิตมาเลเซีย (35.95 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 4,631.15 ริงกิตมาเลเซีย (35.68 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.08  
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,268.75 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43.26 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,262.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (42.70 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.50 
หมายเหตุ  :  ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 5 วัน


 


อ้อยและน้ำตาล
 
 
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
          - พื้นที่เพาะปลูกอ้อยในจังหวัดชัยนาทได้รับความเสียหายจากภัยแล้งที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมา ด้านบริษัทที่ปรึกษา Archer Consulting คาดการณ์ว่า ประเทศไทยจะมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลที่ 10.20 - 10.90 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2567/2568 และอาจฟื้นตัวเป็น 11.76 ล้านตัน ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ขณะเดียวกันรัฐบาลไทยได้อนุมัติงบประมาณให้กับสำนักงานกองทุนอ้อยและน้ำตาลทรายเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มรายได้ให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายผ่านแนวคิดคาร์บอนเครดิต
  1. สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในต่างประเทศ
          - บริษัทที่ปรึกษา Itaú BBA คาดการณ์ภาวะน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus) ในฤดูการผลิตปี 2568/2569 ที่ 4.40 ล้านตัน ขณะที่ฤดูการผลิตปี 2567/2568 คาดว่าจะเกิดภาวะน้ำตาลโลกส่วนขาด (Deficit) ที่ 4.10 ล้านตัน โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาลโลกจะขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิตอ้อยในภาคกลาง-ใต้ของบราซิล ซึ่งขณะนี้ประเมินไว้ที่
601 ล้านตัน ด้านข้อมูลจากสำนักงานเลขาธิการกระทรวงการค้าต่างประเทศของบราซิล (Secex) ระบุว่า อัตราการนำน้ำตาลลงเรือเฉลี่ยต่อวันของบราซิลในช่วง 8 วันแรกของเดือนมีนาคม 2568 ลดลงร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่บริษัท Williams Brasil รายงานว่า ปริมาณน้ำตาลที่รอส่งลงเรือ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เพิ่มขึ้นเป็น 1.90 ล้านตัน จาก 1.60 ล้านตัน ในสัปดาห์ก่อนหน้า
          - แหล่งข่าวในอินเดียเปิดเผยกับบริษัทที่ปรึกษา Bloomberg ว่า อินเดียไม่มีแผนที่จะกลับมาจำกัด
การส่งออกน้ำตาล เนื่องจากคาดการณ์อุปสงค์น้ำตาลในประเทศในปีนี้จะลดลง ขณะที่ปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ของฤดูการผลิตปี 2568/2569 มีแนวโน้มที่ดี
          - แหล่งข่าวในอุตสาหกรรมของจีนระบุว่า การนำเข้าน้ำเชื่อมและน้ำตาลผสมของจีนยังอยู่ในปริมาณที่สูง แม้ว่าปริมาณการนำเข้าจะลดลงในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2568 ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า มีช่องโหว่ในมาตรการควบคุมการนำเข้าของรัฐบาล ขณะเดียวกันแหล่งข่าวท้องถิ่นรายงานว่า ณ วันที่ 21 มีนาคม 2568 มีโรงงานน้ำตาลในเขตมณฑลกว่างซี (Guangxi) เพียง 4 โรงงาน ที่เปิดหีบอยู่ โดยคาดว่าฤดูการผลิตนี้ของจีนจะสิ้นสุดลง
ในต้นเดือนเมษายน 2568 และมีปริมาณผลผลิตน้ำตาลรวม 6.50 ล้านตัน
(ที่มา: บริษัท อ้อยและน้ำตาลไทย จำกัด)




 

 
ถั่วเหลือง

1. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วเหลืองชนิดคละสัปดาห์นี้กิโลกรัมละ 17.00 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
สัปดาห์นี้ไม่มีการรายงานราคาขายส่งถั่วเหลืองสกัดน้ำมัน
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
ราคาในตลาดต่างประเท (ตลาดชิคาโก)
ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยบุชเชลละ 1,009.88 เซนต์ (12.65 บาท/กก.) ลดลงจากบุชเชลละ 1,011.76 เซนต์ (12.76 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 0.19
ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 314.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.74 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 299.86 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.14 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 5
ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 43.30 เซนต์ (32.54 บาท/กก.) สูงขึ้นจากปอนด์ละ 42.34 เซนต์ (31.56 บาท/กก.) ในสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.27

 
 

 
ยางพารา
 
 

 
ถั่วเขียว

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวดำคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดเล็กคละ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 36.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ถั่วเขียวผิวมันเกรดเอ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1011.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 1019.00 ดอลลาร์สหรัฐ (34.06 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวมันเกรดบี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 951.40 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 958.80 ดอลลาร์สหรัฐ (32.05 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.77 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 1,100.80 ดอลลาร์สหรัฐ (37.08 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ ละ 1,109.60 ดอลลาร์สหรัฐ (37.09 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.79 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม
ถั่วเขียวผิวดำ ชั้น 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 921.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.04 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 928.40 ดอลลาร์สหรัฐ (31.03 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.75 และเพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทกิโลกรัมละ 0.01 บาท
ถั่วนิ้วนางแดง สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ลดลงจากตัน 832.20 ดอลลาร์สหรัฐ (27.81 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.82 และคงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนในรูปเงินบาทกิโลกรัม


 

 
ถั่วลิสง

สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ
ความเคลื่อนไหวของราคาประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้ง สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.00 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงทั้งเปลือกสด สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.09 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.45 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.10
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดพิเศษ สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 77.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาถั่วลิสงกะเทาะเปลือกชนิดคัดธรรมดา สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.50 บาท คงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา

 
 

 
ฝ้าย

 

 
ไหม

ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 1 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2,019 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 2,061 บาท จากสัปดาห์ที่ผ่านมาร้อยละ 2.04
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 2 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1,524 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาเส้นไหมพื้นเมืองเกรด 3 สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 949 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา


 

 
ปศุสัตว์

สุกร
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ
 
ภาวะตลาดสุกรสัปดาห์นี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดสอดรับกับความต้องการบริโภค แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ  77.14 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 76.44 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 65.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 70.24 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 81.98 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 80.00 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ตัวละ 2,700 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2,600 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.84 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 84.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 82.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไก่เนื้อ
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคสอดรับกับผลผลิตที่ออกสู่ตลาด แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย        
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 42.22 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 42.00 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 42.17 บาท ภาคใต้ กิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 18.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.50 บาท  และราคาขายส่งไก่สดทั้งตัวรวมเครื่องใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 57.50 บาท ทรงตัวเท่าสัปดาห์ที่ผ่านมา

ไข่ไก่
สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ

สถานการณ์ตลาดไข่ไก่สัปดาห์นี้ ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากกำลังซื้อของผู้บริโภค  ยังคงชะลอตัว แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย แนวโน้มสัปดาห์หน้าคาดว่าราคาจะทรงตัวหรือสูงขึ้นเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 339 บาท  ลดลงจากร้อยฟองละ 340  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 342 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 335 บาท และภาคใต้ไม่มีรายงาน ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้ ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา 
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 352 บาททรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 420  บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 418  บาท  คิดเป็นร้อยละ 0.48 ของสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 435 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 425 บาท  ภาคกลางร้อยฟองละ 393 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 463 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไข่เป็ดคละ ณ แหล่งผลิตภาคกลาง จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 440 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา  

โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
   
ราคาโคพันธุ์ลูกผสม (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 65.30 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 65.01 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.44 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 76.69 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 62.80 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 54.69 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 86.16 บาท

กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 57.79 บาท สูงขึ้นลดลงจากกิโลกรัมละ 57.11 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.19 ของสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 87.75 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 52.01 บาท  ภาคกลางและภาคใต้ไม่มีรายงาน


 

 
 

 
ประมง

สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
1. การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา (ระหว่างวันที่ 24 – 30 มีนาคม 2568) ไม่มีรายงานปริมาณจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
 2. การตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย (ขนาด 3 - 4 ตัว/กก.)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.91 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 53.95 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 1.96 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.2 ปลาช่อน (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 83.39 ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 83.30 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.09 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.3 กุ้งกุลาดำ
ราคาที่ชาวประมงขายได้ขนาด 60 ตัวต่อกิโลกรัมและราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) ไม่มีรายงานราคา
2.4 กุ้งขาวแวนนาไม
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.37 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.32 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 8.05 บาท เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
สำหรับราคา ณ ตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาครขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 160.00 บาท ราคาสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 159.17 บาท ของสัปดาห์ที่ผ่านมา 0.83 บาท
2.5 ปลาทู (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 68.72 บาท ราคาทรงตัวสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากตลาดมีความต้องการบริโภคคงที่
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.6 ปลาหมึกกระดอง (ขนาดกลาง)
ราคาที่ชาวประมงขายได้ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ สัปดาห์นี้ไม่มีรายงานราคา
2.7 ปลาเป็ดและปลาป่น
ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
สำหรับราคาปลาป่นขายส่งกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ปลาป่นชนิดโปรตีน 60% ขึ้นไป ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา และปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60%
ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละบาท 25.00 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา